เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 65 ลดลงอยู่ที่
ระดับ 84.3 จากระดับ 86.2 ในเดือนก่อนหน้า
? ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ค. 65 หดตัวที่
ร้อยละ -11.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
เศ
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน พ.ค. 65 ลดลงอยู่ที่ระดับ 84.3 จากระดับ 86.2
ในเดือนก่อนหน้า
ดัชนี TISI เดือน พ.ค. 65 ปรับตัวลงเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยปรับลดลงในทุกองค์ประกอบของดัชนี ได้แก่ คาสั่งซื้อโดยรวม
ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และผลกระกอบการ จากปัญหาราคาน้ามัน ราคาสินค้าโภคภัณฑ์และราคา
วัตถุดิบต่าง ๆ ในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น กระทบต่อผู้ประกอบการภาคการผลิต โดยเฉพาะ
SMEs ที่มีความสามารถปรับตัวได้ช้ากว่า ประกอบกับกาลังซื้อที่ชะลอลงของผู้บริโภคจากปัญหาเงินเฟ้อและหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง
อย่างไรก็ดี ดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า เดือน พ.ค. 65 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 96.7 จากระดับ 95.9 ในเดือน
ก่อน จากการผ่อนคลายการเปิดประเทศจนทาให้มีนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้น ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
โควิด-19 ที่เริ่มคลี่คลายมากขึ้น และรัฐบาลจะพิจารณาให้โควิดเป็นโรคประจาถิ่น จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจการค้า การลงทุนและ
การท่องเที่ยวของไทยในช่วงครึ่งหลังของปี 65
ปริมาณการจาหน่ายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน พ.ค. 65 หดตัวร้อยละ -11.7 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน และหดตัวร้อยละ -3.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังหักผลทางฤดูกาล
Cement Sales
-11.7
-3.5
-15.0
-10.0
-5.0
0.0
5.0
10.0
15.0
20.0
Jan-19
Mar-19
May-19
Jul-19
Sep-19
Nov-19
Jan-20
Mar-20
May-20
Jul-20
Sep-20
Nov-20
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
%YoY %MoM_Sa
โดยในเดือน พ.ค. 65 ยอดจาหน่ายปูนซีเมนต์หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
จากราคาปูนซีเมนต์ที่ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามราคาต้นทุนวัตถุดิบและราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง ประกอบ
กับภาวะเงินเฟ้อที่เร่งตัวขึ้น กระทบต่อกาลังซื้อของผู้บริโภค และกิจกรรมในภาคการก่อสร้างให้ชะลอตัวลง
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ธนาคารกลางสหรัฐฯ มีมติให้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 1.50-1.75 ต่อปี จากเดิมอยู่ที่ร้อยละ 0.75-1.00ต่อปี
ยอดใบอนุญาตสร้างบ้านใหม่ เดือน มิ.ย. 65 ที่หดตัวร้อยละ -7.0 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -3.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านเดี่ยว ทาวน์โฮม และคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวลดลง
ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน มิ.ย. 65 หดตัวร้อยละ -14.4 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) ขณะที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 5.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากยอดสร้างบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวลดลง
ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 1.5 จากเดือนก่อนหน้าชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.9 เป็นผลจากดัชนีราคากลางบ้านที่ปรับลดลงในเขต Pacific,
West North Central, East North Central, South Atlantic และNortheast
ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 8.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 8.3จากช่วงเดียวกันปีก่อน
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (5 มิ.ย 11 มิ.ย. 6565) อยู่ที่ระดับ 2.29 แสนรายปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.32 แสนราย ทางด้านจานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ 4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.18แสนราย
จีน
ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -2.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ท่ามกลางการฟื้นตัวของภาคการผลิตหลังจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโควิด-19ในเมืองใหญ่บางแห่ง
ยอดค้าปลีก เดือน พ.ค. 65 หดตัวที่ร้อยละ -6.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -11.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.9 ของกาลังแรงงงานรวม ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.1ของกาลังงแรงงานรวม
ญี่ปุ่น
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) เดือน พ.ค. 65อยู่ที่ระดับ 34.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า หลังจากรัฐบาลหยุดมาตรการฉุกเฉินและการระบาดของโควิด-19 ลดลง
ยูโรโซน
ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 หดตัวร้อยละ -2.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หดตัว เร่งขึ้นจากเดือน มี.ค. 65 ที่หดตัวร้อยละ -0.5จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากภาวะห่วงโซ่อุปทานติดขัดจากสงครามรัสเซีย-ยูเครน และการล็อกดาวน์ของประเทศจีน
ธนาคารทุนสารองอินเดีย ( ปรับอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร (repo rate) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 มาอยู่ที่ร้อยละ 4.94.9ในการประชุม มิ.ย. 65 เพื่อควบคุมให้เงินเฟ้ออยู่ในเป้าหมาย
ดุลการค้า เดือน พ.ค. 65 ขาดดุลที่ระดับ -24.29 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -20.11พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาล) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 โดยมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15โดยเดือน พ.ค. 65มีตาแหน่งจ้างงานเพิ่มขึ้น 9.35แสนตาแหน่ง ต่อปี
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 86.4 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ที่อยู่ที่ระดับ 90.4 จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 7เดือน ท่ามกลางการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและแนวโน้มการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางออสเตรเลีย
อัตราการว่างงาน เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.9ของกาลังแรงงานรวมเช่นกัน และถือเป็นอัตราการว่างงานที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่มีการจัดทาข้อมูล
อินโดนีเซีย
มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 2727เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 47.847.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 3030.77เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2121.99จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน พ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 2.92.9พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 7.67.6พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
เกาหลีใต้
อัตราการว่างงาน (ปรับฤดูกาล) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.8 โดยมีการจ้างงานเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 15โดยเดือน พ.ค. 65มีตาแหน่งจ้างงานเพิ่มขึ้น 9.35แสนตาแหน่ง ต่อปี
ธนาคารทุนสารองอินเดีย ( ปรับอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร (repo rate) เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 มาอยู่ที่ร้อยละ 4.94.9ในการประชุม มิ.ย. 65 เพื่อควบคุมให้เงินเฟ้ออยู่ในเป้าหมาย
ดุลการค้า เดือน พ.ค. 65 ขาดดุลที่ระดับ -24.29 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -20.11พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
สิงคโปร์
มูลค่าการส่งออก เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 26.926.9เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวอยู่ที่ร้อยละ 19.219.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน พ.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 3838.77เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งตัวขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 2424.33จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน พ.ค. 65 เกินดุลที่ระดับ 3.23.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 4.24.2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 11.33เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวอยู่ที่ร้อยละ 3.13.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 3333.11เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4545.77จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 ขาดดุลที่ระดับ -8.5 พันล้านปอนด์ ขาดดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -11.5 พันล้านปอนด์
อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.8 ของกาลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.7ของกาลังแรงงานรวม และมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 3.6ของกาลังแรงงานรวม
ธนาคารกลางอังกฤษมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 1.25ต่อปี จากร้อยละ 1.00ต่อปี จากการประชุมในเดือน มิ.ย. 65 เพื่อรับมือกับอัตราเงินเฟ้อภายในประเทศที่เพิ่มสูงขึ้นเครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัช นี SET ป รับ ตัว ล ด ล ง จ ก สัป ด ห์ก่อ น ส อ ด ค ล้อ ง กับ ต ล ด
หลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง จากสัป ดาห์ก่อ น เช่น
NIKKEI225 (ญี่ปุ่น) HSI (ฮ่องกง) และ DJIA (สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น
เมื่อวันที่ 16 มิ.ย. 65 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,561.1 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขาย
เฉลี่ยระหว่างวันที่ 13 – 16 มิ.ย. 65 อยู่ที่ 75,818.23 ล้านบาทต่อวัน
โดยนักลงทุนทั่วไปในประเทศป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนต่างชาติ
นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็น
ผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 13 มิ.ย. 65 ถึง 16 มิ.ย. 65 นักลงทุน
ต่างชาติ ขาย หลักทรัพย์สุทธิ -10,716.17 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาล โดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 6 ถึง
24 bps ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 13 – 16 มิ.ย. 65 กระแสเงินทุนของนักลงทุน
ต่างชาติ ไหลเข้า ในตลาดพันธบัตรสุทธิ 1,151.04 ล้านบาท และหากนับ
จากต้นปีจนถึงวันที่ 16 มิ.ย. 65 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ
ไหลเข้า ในตลาดพันธบัตรสุทธิ 20,905.1 ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 16 มิ.ย. 65 เงินบาท
ปิด ที่ 3 4.96 บ ท ต่อ ด อ ล ล ร์ส ห รัฐ อ่อ น ค่า ล ง ร้อ ย ล – 1.29
จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ
เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัว
อ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับ ดอลลาร์ ทั้งนี้ เงินบาท
อ่อ น ค่า ม กก ว่า เงิน สกุล อื่น ๆ เป็น ส่ว น ใ หญ่ใ น ภูมิภ ค ส่งผล ใ ห้
ดัชนีค่าเงินบาท (NEER) อ่อนค่าลงร้อยละ -0.27 จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง